|
บทสวดมนต์มงคลเก้าความเป็นมาและอานิสงส์ของการสวดมนต์มงคลเก้าบทสวดมนต์มงคลเก้า หรือยันต์เก้า ของท่านพระอาจารย์จำเนียร สีลเสฏโฐ แห่งวัดถ้ำเสือ อ.เมือง จ.กระบี่ เป็นบทสวดซึ่งได้รับตกทอดมาจากบรรพบุรุษ พร้อมทั้งท่วงทำนองการสวดแบบอินเดียโบราณตอนใต้ เป็นการรวบรวมบทสวดที่สำคัญมาไว้เป็นบทเดียวกัน โดยเฉพาะบทนครัฏฐาสูตร ที่ได้กล่าวสรรเสริญคุณพระพุทธเจ้า พร้อมทั้งพระอรหันต์เอตทัคคะ ๘๐ องค์ ฯลฯ อานิสงส์ของการสวดมนต์มงคลเก้านี้ เป็นการเสริมบารมี โชคลาภ วาสนา สะเดาะเคราะห์กรรมต่างๆ ป้องกันคุณไสยหรือไสยศาสตร์ อีกทั้งยังสามารถทำน้ำมนต์เพื่อเป็นสิริมงคล แก่ตนเองและผู้อื่น
วิธีสวดให้เริ่มสวดตั้งแต่หน้าที่ (อาราธนาพระปริตร) ถึงหน้าที่ (จบ)
อาราธนาพระปริตรวิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะ ทุกขะ วินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะ ภะยะ วินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะ โรคะ วินาสายะ ปะริตตัง พรูถะ มังคะลัง ข้าแต่พระคุณท่านผู้เจริญ ขอพระคุณท่านโปรดสวด (ข้าพเจ้าขอสวด) พุทธานุภาพ ธัมมานุภาพ สังฆานุภาพ กำจัดทุกข์ กำจัดภัย กำจัดโรคของข้าพเจ้า ให้หมดไปสิ้นไป การกระทำอันใดด้วยอธรรม มนต์ดำทั้งหลาย ฝังรูปก็ดี ฝังรอยก็ดี ฝังทางสามแพร่งก็ดี ฝังใต้บ้านก็ดี ฝังบริเวณบ้านก็ดี ฝังในบ่อก็ดี ฝังในสระก็ดี ฝังในห้วยก็ดี ฝังในหนองก็ดี ฝังในคลองก็ดี ฝังในบึงก็ดี ฝังในบางก็ดี ฝังในทะเลก็ดี นะถอน โมถอน พุทถอน ธาถอน ยะถอน นะคลอน โมคลอน พุทคลอน ธาคลอน ยะคลอน ถอนด้วยนะโมพุทธายะ ผูกไว้ก็ดี มัดไว้ก็ดี ตรึงไว้ก็ดี ผูกด้ายสายสิญจน์ก็ดี ผูกด้ายสามสีก็ดี ผูกด้ายผูกมือผีก็ดี ผูกหัวใจก็ดี ผูกลำไส้ก็ดี ผูกมือผูกเท้าก็ดี นะโมตัสสะ ตัสสะตัด ใครผูกใครมัด ตัดด้วยนะโมตัสสะ ตัสสะ ข้าแต่พระคุณท่านผู้เจริญ ขอพระคุณท่านโปรดสวด (ข้าพเจ้าขอสวด) สะเดาะพระเคราะห์ ในกายในใจของข้าพเจ้า พระเคราะห์วัน พระเคราะห์เดือน พระเคราะห์ปี พระเคราะห์โยก พระเคราะห์ตัวนอก พระเคราะห์ตัวกลาง พระเคราะห์ตัวใน พระเคราะห์เสวยอายุ พระเคราะห์แทรก เป็นเหตุให้ข้าพเจ้า ปวดท้อง ปวดเอว ปวดหลัง ปวดแขน ปวดต้นคอ ปวดหัวเข่า ปวดแข้ง ปวดขา ปวดหัวมัวตา ขี้ด่าขี้หึง ใจร้อนใจร้าย ความดันสูง ความดันต่ำ โรคหอบ โรคหืด โรคเบาหวาน โรคไซนัส โรคริดสีดวง โรคหัวใจ โรคไต โรคตับ โรคปอด โรคกระเพาะอาหาร โรคอัมพฤกษ์ โรคอัมพาต โรคมะเร็งทั้งหลาย ขอน้อมถวายให้แก่พระพาย หอบพาไปทิ้งที่นอกขอบจักรวาล โชคดีทั้งหลาย เคราะห์ดีทั้งหลาย ฝันดีทั้งหลาย นิมิตดีทั้งหลาย มงคลดีทั้งหลาย จงบังเกิดมี แก่ข้าพเจ้า ทำกิจการอันใด ขอให้สำเร็จตามความปรารถนาทุกเมื่อเทอญ
นครัฏฐาสูตรปะณิธานะโต ปัฏฐายะ ตะถาคะตัสสะ ทะสะ ปาระมิโย ทะสะ อุปะปาระมิโย ทะสะ ปะระมัตถะปาระมิโย ปัญจะ มะหาปะริจจาเค ติสโส จะริยา ปัจฉิ มัพภะเว คัพภาวักกันติง ชาติง อะภินิกขะมะนัง ปะธานะจะริยัง โพธิปัลลังเก มาระวิชะยัง สัพพัญญุตะญาณัปปะฏิเวธัง นะวะ โลกุตตะระธัมเมติ สัพเพปิเม พุทธะคุเณ อาวัชชิต๎วา เวสาลิยาตีสุ ปาการันตะเรสุ ติยามะรัตติง ปะริตตัง กะโรนโต อายัส๎มา อานันทัตเถโร วิยะการุญญะจิตตัง อุปัฏฐะเปต๎วา ฯ โกฏิสะตะสะหัสเสสุ จักกะวาเฬสุ เทวะตา ยัสสาณัม ปะฏิคคัณหันติ ยัญจะเวสาลิยัมปุเร โรคามะนุสสะทุพภิกขะ สัมภูตันติวิธัมภะยัง ขิปปะมันตะระธาเปสิ ปะริตตัน ตัมภะณามะ เห ฯ เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา เวสาลิยัง วิหะระติ มะหาวะเน กูฏาคาระ สาลายัง เตนะโขปะนะ สะมะเยนะ ภะคะวา ตัสสายะ รัตติยา ปัจจุสะมะยัง ปัจจุฏฐายะ มะหากะรุณา ผะละสะมาปัตติง สะมาปันโน โหติ พะหุชะ นะหิตายะ พะหุชะ นะสุขายะ โลกานุ กัมปายะ อัตถายะ หิตายะ สุขายะ เทวะมะนุสสานัง อะถะโข ภะคะวา อายัส๎มันตัง อานันทัง อามันเตสิ ปัสเสยยานันทะ มะนุสสานัง อะมะนุสสานัง วิเหฐิยานัง โสตถิยานัง ฯ อุคคัณหาหิ อานันทะ อิมัง นะคะรัฏฐานัง ธาเรหิ อานันทะ อิมัง นะคะรัฏฐานัง วาเจหิ อานันทะ อิมัง นะคะรัฏฐานัง มะนะสิกะโรหิ อานันทะ อิมัง นะคะรัฏฐานัง ปะริยาปุณาหิ อานันทะ อิมัง นะคะรัฏฐานัง นะมะ ภาสิตัง ยะถา จะ ปะนาหัง สารัชชัง กุมภัณฑานัง นิสสายะ ราชาภะเยนะ ปะริมุญจิสสามิ โจระภะเยนะ ปะริมุญจิสสามิ อัคคิภะเยนะ ปะริมุญจิสสามิ อุทะกะภะเยนะ ปะริมุญจิสสามิ อาวัตตะภะเยนะ ปะริมุญจิสสามิ วิวัตตะภะเยนะ ปะริมุญจิสสามิ อาวัตตะวิวัตตะภะเยนะ ปะริมุญจิสสามิ ภูตะภัสสะมาเรนะ ปะริมุญจิสสามิ ปิสาจะภัสสะมาเรนะ ปะริมุญจิสสามิ ยักขะภัสสะมาเรนะ ปะริมุญจิสสามิ กุมภัณฑะ ภัสสะมาเรนะ ปะริมุญจิสสามิ นาคะภัสสะมาเรนะ ปะริมุญจิสสามิ สุปัณณะภัสสะมาเรนะ ปะริมุญจิสสามิ คันธัพพะภัสสะมาเรนะ ปะริมุญจิสสามิ โตตะภัสสะมาเรนะ ปะริมุญจิสสามิ สัพพะภะเยนะ ปะริมุญจิสสามิ ฯ กาโสสาโส เสนะกัง โตตะกัง วิโตตะกัง รัชชะกัง ปะรัชชะกัง กาละวะกัง สัพพะโตตะ วิโยเคนะ ปะริมุญจิสสามิ อัคคะหา ปะริมุญจิสสามิ ปะริคคะหา ปะริมุญจิสสามิ อัคคะหา ปะริคคะหา ปะริมุญจิสสามิ เอหิ ตะวังอานันทัง จะตูหิ มะหาราเชหิ ทินนัง ปัจจัคคัง เสละมะณีมะยัง ปัตตังกาละจัมเปยยันทิยา โปกขะระณียา อุทะกัง คะเหตตะวา เวสาลิยัง ปะวิสิตตะวา สัพพะโรคะวินาสะ นัฏฐายะ สิญจามิ อิมัง นะคะรัฏฐานัง พุทธะ คุณะปะริธิปะนัฏฐายะ สิญจามิ อิมัง นะคะรัฏฐานัง ธัมมะ คุณะปะริธิปะนัฏฐายะ สิญจามิ อิมัง นะคะรัฏฐานัง สังฆะ คุณะปะริธิปะนัฏฐายะ สิญจามิ อิมัง นะคะรัฏฐานัง อายัสมันโต อะสีติ สาวะกา ทะโยติ เตสัง สัจเจนะ สีเลนะ ขันติ เมตตาพะเลนะ จะ เตปิมัง อะนุรักขันตุ อะโรคะเยนะ สุเขนะ จะ พุทโธ อะตุลละโย ธัมโม จะ สังโฆ อะตุลละโย มะหานุภาโว เอเต ปะสัง สัตถา อะนุกัม ปะยันตุ สุวัตถิวุฑฒิ มะนะโต โหตุ นิจจัง เอเต ปาเลตุปาณาติ สุขิโน โหนตุ ปาณิ โนติ ฯ โกณฑัญโญ สาริปุตโต จะ โมคคัลลาโน จะ กัสสะโป กุมาโร อุรุเวโล จะ คะยานะทิ จะ กัสสะโป ปาลัตโถ รัฏฐะปาโล จะ นาโค อังคุลิมาละโก สุภูโต ภารัททะวาโช จะ ปุณโณ วักกะลิ อัสสะชิ ภัททะชิ จะ อุปาลี จะ ฉิมพะลี จะ คะวัมปะติ อุทายี กาฬุทายี จะ โลฬุทายี จะ ถาวะรี สะมิทธี จะ ภะวังกะโร จาปิ สุภัทโท สุคะโตปิ จะ สาคะโต จะ สุทัตโต จะ โตทัตโต นาคะทัตตะโก อุคคาเรโว จะ เรโว จะ กังขาเรโว จะ ยัตติโก สุนันโท คิริมานันโท นันทัตเถโร อุปะนันโท อานันโท นันทะกัปโป จะ วะยะกัปโป จะ ภัททะคุ มะหานาโม โลหะนาโม สังฆาโม วิชิโตปิ จะ ปุลิโน ธะนิยัตเถโร ทัพโภ จะ อุปะเสนะโก สุปาโกปิ จะ อุตตะโร สุขัตเถโร อะนุรุทโธ ภัททิยัตเถโร นุโชติโย กิมิโล วิมะโล พาหุ สุพาหุ จูฬะปันถะโก มะหาปันถะโก จะ สุมะโน ปะราธะโก โมฆะราชะโก โสณะกัปโป จะ โสณะโก โสณะกัณโณ จะ โสโณ จะ กัจจาโน วังคิโสปิ จะ พากุโล ราหุลัตเถโร จะ อะนาคาโร จะ กัสสะโป วัปปัตเถโร จะ ชะฏิโล อิจเจเต อะสีติสาวะกาทะโยติ เตสัง สัจเจนะสีเลนะ ขันติ เมตตาพะเลนะ จะ เตปิมัง อะนุรักขันตุ อะโรคะเยนะ สุเขนะ จะ ชะลันตา อัคคิขันธาวะ ปะรินิพพันติ อะนาสะวาสะทา รักขันตุ มังสัพเพ อัมเห รักขันตุ สัพพะทา ฯ เมตเตยโย อุตตะโร ราโม ปัสเสโน โกสะโลภิภู ทีคะชังคี จะ โสโน จะ สุภูโต เทยยะพราหมมะโณ นาฬาคิริ ปาลิเลโย โพธิสัตตา อิเมหิ ทะสะ โพธิสัตตา ทะสุตตะระปัญจะสะตา ปูเรนตา พุทธะ การะเก ปาปุณิสสันติ อานาคะเต อะนันตัง โพธิสัมภารัง กัตตะวา กัปเป อะนันทะเก สัพพานิ ทะนานิ เทนติ ปุตตะ ทานะราชิกานิ จะ อานันทะ จักกะวาเลสุ อินทา เทวา จะ พรัหมมุโน มะนุสสะ ติรัจฉานานัง สัพเพ สานัง หิเตสิโน เอเตนะ สัมภาเรนะ ระเตเชนะ สัพเพสัตตา สุขังคะตา อัญญะมัญญัง มะเหเทนตุ อัญญะมัญญัง ปิยังวะธา สะมันตา จักกะวาเลสุ อะนันเต อัปปะมาณะเก สัพเพเทวา สะปุริสา สุขี ภะวันตุ สัพพะทา ฯ พุทธัง เสฏฐัง ติกขุนทริยัง ธัมมัง คัมภีรัง พุทธัสสัง สังฆัญจะ ปุญญักเขตตัง จะ วันเทหัง สักกัจจัง นิจจัง ปัญญา มะหาธัมมะธะรา มะหาอิทธิ มะหายะสา อะสีติ จะ มะหาเถรา สัตตานัง หิตะการะกา ชะลันตา สีละเตเชนะ วิราวิโร จะเรสิยาติ เอเตหิ จะ อัญเญหิ จะ พุทธะสาวะเกหิ ยาวะเทวะวะเน มะหาวะเน รักขันตุ สุรักขันตุ ยาวะเทวะฆะเร มะหาฆะเร รักขันตุ สุรักขันตุ ยาวะเทวะปะเถ มะหาปะเถ รักขันตุ สุรักขันตุ ยาวะเทวะนัคฆะเร มะหานัคฆะเร รักขันตุ สุรักขันตุ ยาวะเทวะสะมันตา สัฏฐิโยชะนะ สะตะ สะหัสสานิ พุทธะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุ ยาวะเทวะสะมันตา สัฏฐิโยชะนะ สะตะสะหัสสานิ ธัมมะชาละ ปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุ ยาวะเทวะสะมันตา สัฏฐิโยชะนะ สะตะสะหัสสานิ สังฆะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุ อิทะมะโว จะ ภะคะวา อัตตะมะโน อายัส๎มา อานันโท ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทีติ ฯ
ปลุกเสกธาตุสิทธี ปะฐะวี พะลา เตชา อิทธา ธาตุดินของข้าพเจ้ามีกำลัง มีเดชมีฤทธิ์ สิทธี อาโป พะลา เตชา อิทธา ธาตุน้ำของข้าพเจ้ามีกำลัง มีเดชมีฤทธิ์ สิทธี เตโช พะลา เตชา อิทธา ธาตุไฟของข้าพเจ้ามีกำลัง มีเดชมีฤทธิ์ สิทธี วาโย พะลา เตชา อิทธา ธาตุลมของข้าพเจ้ามีกำลัง มีเดชมีฤทธิ์ สิทธี อาโก พะลา เตชา อิทธา อากาศธาตุของข้าพเจ้ามีกำลัง มีเดชมีฤทธิ์ สิทธี วิญญาโณ พะลา เตชา อิทธา วิญญานธาตุของข้าพเจ้ามีกำลัง มีเดชมีฤทธิ์ พุทธังกันตัง ธัมมังกันตัง สังฆังกันตัง พุทธังรักษา ธัมมังรักษา สังฆังรักษา พระพุทธังอุด พระธัมมังอุด พระสังฆังอุด พระพุทธเจ้าห้ามอาวุธ อุดอธรรม ด้วยพระพุทธัง พระธรรมเจ้าห้ามอาวุธ อุดอธรรม ด้วยพระธัมมัง พระสงฆเจ้าห้ามอาวุธ อุดอธรรม ด้วยพระสังฆัง พระพุทธังปิด พระธรรมมังปิด พระสังฆังปิด พระพุทธเจ้าแผลงฤทธิ์ปิดอธรรมด้วยพระพุทธัง พระธรรมเจ้าแผลงฤทธิ์ปิดอธรรมด้วยพระธัมมัง พระสงฆเจ้าแผลงฤทธิ์ปิดอธรรมด้วยพระสังฆัง สัพเพพุทธา พะลัปปัตตา ปัจเจกา นัญจะ ยัง พะลัง อะระหันตา นัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส
คำแปลอาราธนาพระปริตรขอพระสงฆ์ทั้งหลาย จงสวดพระปริตร อันเป็นมงคล เพื่อป้องกันความวิบัติ เพื่อความสำเร็จในสมบัติทั้งปวง และเพื่อให้ทุกข์ทั้งปวงพินาศไป เพื่อให้ภัยทั้งปวงพินาศไป เพื่อให้โรคทั้งปวงพินาศไป
คำแปลนครัฏฐาสูตรเราทั้งหลายจงตั้งจิตอันประกอบไปด้วยความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย ดังพระอานันทเถระผู้มีอายุ นึกถึงพระพุทธคุณทั้งหลาย แม้ทั้งปวงของพระตถาคตเจ้า จำเดิมแต่ปรารถนาพุทธภูมิมา คือ บารมี ๑๐ อุปบารมี ๑๐ ปรมัตถบารมี ๑๐ มหาบริจาค ๕ จริยา ๓ เสด็จลงสู่คัพโภทรในภพมีในที่สุด ประสูติ เสด็จออกอภิเนษกรมณ์ บำเพ็ญทุกข์กิริยา ชนะมาร ตรัสรู้พระสัพพัญญุตญาณ ณ โพธิบัลลังก์ นวโลกุตตรธรรม ๙ ดังนี้แล้ว กระทำปริตร ตลอดราตรีทั้ง ๓ ยาม ในภายในกำแพง ๓ ชั้น ในเมืองเวสาลี เทวดาทั้งหลายในแสนโกฏิจักรวาล ย่อมรับเอาแม้ซึ่งอาชญาแห่งพระปริตรอันใด อนึ่ง พระปริตรอันใด ยังภัย ๓ ประการอันเกิดจากโรค อมนุษย์ และข้าวแพงในเมืองเวสาลีให้อันตรธานไปโดยเร็วพลัน เราทั้งหลายจงสวดปริตรอันนั้น เทอญ ในสมัยกาลครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตื่นขึ้นแล้วจากสีหไสยาสน์ ในเวลาใกล้รุ่งแห่งราตรี แล้วพระองค์ก็เข้าซึ่งผลสมาบัติ อันประกอบไปด้วยพระมหากรุณา เพื่อให้เป็นประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก เพื่อจะให้เป็นสุขแก่มหาชน เป็นสุขแก่สัตว์โลก เพื่อให้เจริญและเป็นสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ในกาลครั้งนั้น อันว่าพระผู้มีพระภาคเจ้า ได้มีพระพุทธฎีกาตรัสเรียกพระอานนท์ ว่าท่านจงเรียนพระปริตรนี้ ชื่อว่า นะคะรัฏฐานะปริตรนี้ และเหตุพระปริตรนี้ จะให้ตั้งอยู่เป็นสุขแห่งพระนคร ท่านจงฟังจงทรงไว้ ซึ่งนะคะรัฏฐานะปริตรนี้ ท่านจงทรงไว้ในใจ ซึ่งนะคะรัฏฐานะปริตรนี้ อันพระตถาคตตรัสไว้แล้ว เพื่อจะให้บังเกิดซึ่งสิริสวัสดิ์ความเจริญแก่มนุษย์ทั้งหลาย จักบังเกิดมี แก่มนุษย์ทั้งหลายด้วยนะคะรัฏฐานะปริตรนี้ พระตถาคตจักปลดเปลื้อง ซึ่งสัตว์ทั้งหลาย เพื่อจะให้หายเสียซึ่งความกลัว และสะดุ้งตกใจ จากกุมภัณฑ์ยักษ์ทั้งหลาย พระตถาคตจักปลดเปลื้องเสีย ซึ่งมนุษย์ทั้งหลาย จากโจรภัย จากภัยแห่งเพลิง จากภัยแห่งน้ำ จากภัยอันเดินมา จากภัยอันเดินไป จากยักษ์ทั้งหลายที่พึงกลัว จากภูตพรายที่พึงกลัว จากปีศาจ จากกุมภัณฑ์ จากนาคร้ายที่พึงกลัว จากครุฑร้าย จากคนธรรพ์ร้ายที่พึงกลัว จากไข้ห่า จากภัยทั้งปวง โรคหืด ไข้จุกเสียด เมื่อยขบ ไข้หวัด โรคหอบ ไข้ป่วง ไข้เกลียวดำ ให้พ้นพรากออกไป พระตถาคตเจ้าจะให้มนุษย์พ้นจากสิ่งไม่ดีทั้งปวงด้วยประการนี้ พระอานนท์จงมาตักน้ำในจัมเปยยะนที แต่พอด้วยบาตรของพระตถาคต อันท้าวมหาราชทั้ง ๔ ได้ถวายไว้ และเข้าไปในเมืองเวสาลี จะสำแดงเดชแห่งพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ เพื่อให้มนุษย์พ้นจากโรคภัยทั้งปวง อันว่านะคะรัฏฐานะปริตรนี้ คือการออกนามสาวกทั้งหลาย ๘๐ พระองค์ พระปริตรนี้จักเป็นประโยชน์แก่มนุษย์ทั้งหลายอันเป็นล้านโยชน์ |
|